Four-Steps process of Finding Peace in the Covid-19 Crisis
ท่ามกลางวิกฤติไวรัส Covid-19 ชวนกันให้เวลากับตัวเอง 15 นาที
ความรู้สึกผิด ผลักดันให้ใจของเราไปอยู่กับอดีต และยึดติดอยู่กับสิ่งที่เราไม่สามารถกลับไปแก่ไขอะไรได้ เก็บความผิดพลาดไว้เป็นบทเรียน
เราเคยตั้งคำถามกับตัวเองกันบ้างไหมว่า “การรับฟังที่แท้จริง นั้นคืออะไร” บางครั้งเราอยู่ด้วยกัน แต่เหมือนว่าไม่ได้อยู่ด้วยกันเลย เพราะเวลาที่เราพูดบางอย่างออกไปเราหวังว่าคนที่อยู่ตรงหน้าจะรับฟังในเรื่องราวของเรา
เรามาเรียนรู้โลกวัยเด็กของแต่ละลักษณ์ เด็กมักแปลความหมาย หรือตีความจากการสื่อสารของพ่อแม่ (หรือบุคคลสำคัญในวัยเด็ก)
ชีวิตเราต้องการอาหาร เช่นเดียวกันกับจิตใจที่ต้องการอาหารเช่นเดียวกัน อาหารใจเมื่อเราได้รับจะช่วยทำให้เพิ่มพลังชีวิต
คำว่า “ไร้ค่า” อาจดูธรรมดาสำหรับใครบางคน แต่สำหรับคนกลุ่มหนึ่ง คำนี้มีอิทธิพลต่อพวกเขามาก มีครูท่านหนึ่งได้สอนไว้ว่า “ร่างกายคนเราต้องการอาหาร ใจคนเราก็ต้องการเช่นกัน”
นิสัยเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ยาก หลายคนอาจเริ่มต้นปีใหม่ด้วยการวาดฝันไว้อย่างสวยหรู แต่แล้วก็พบว่าตัวเองแค่ฝันลมๆ แล้งๆ เพียงไม่กี่เดือนหลังจากนั้น
ตอนที่ผมไปอบรมการจัดกระบวนการ “ภูมิต้านทานการเปลี่ยนแปลง” (Immunity to Change) กับศาสตราจารย์โรเบิร์ต คีแกน และลิซ่า ลาเฮ ที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด อาจารย์ลิซ่าแนะนำหนังสือเล่มหนึ่งให้เราได้อ่านกันคือ หนังสือเรื่อง กรอบความคิด (Mindset)
หนังสือพิมพ์มติชน ฉบับประจำวันที่ 7 กรกฎาคม 2555 ในสังคมที่เร่งด่วน มนุษย์ต้องตัดสินใจเร็ว หากใครได้มีโอกาสดูภาพยนตร์สารคดีเรื่อง Home จะเห็นอัตราเร่งของวิวัฒนาการของ “บ้าน”
โลกเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ แต่โลกยุคข้อมูลข่าวสารที่เรากำลังใช้ชีวิตอยู่ในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงเร็วกว่ายุคไหนๆ ที่ผ่านมา งานวิจัยเมื่อปี ค.ศ. 2011 ประมาณการณ์กันว่า ทุกๆ สองปี ข้อมูลทั้งหมดในโลกจะเพิ่มขึ้นมากกว่าสองเท่า